ในกรณีที่ตีพิมพ์กับวาสารศึกษาศาสตร์ต้องมีหนังสือรับรองก่อนจะตีพิมพ์บทความในวารสารศึกษาศาสตร์แนบด้วย
 
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 13styles.com - Saturday
   
   Main Menu
     HOME
     วารสารทั้งหมด
      กองบรรณาธิการ
     ข่าวประชาสัมพันธ์
      บรรณาธิการ
     ติดต่อเรา
     เว็บบอร์ด
 

  บรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม
Associate Professor Dr.Prasart Nuangchalerm


โทรศัพท์ 081-9655286
E-mail : prasart.n@msu.ac.th
 
  การศึกษา
2541 วท.บ. วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ทุน พสวท.)
2544 วท.ม. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ทุน พสวท.)
2547 Cert. in Research Methods in Science Education, Department of Curriculum and Instruction, School of Education, University of Wisconsin-Madison, USA (ทุน สสวท.)
2549 กศ.ด. การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ทุน สควค.) 
2554 ศษ.บ. ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  ประสบการณ์การบริหาร
  • ผู้ช่วยคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ปี 2550-2552)
  • รองผู้อำนวยการสำนักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ปี 2552-2557)
  • รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ปี 2557-2558)
  ทุนและรางวัลที่เคยได้รับ
  • ทุนโครงการ พสวท. (ปี 2537-2544)
  • ทุนโครงการ สควค. (ปี 2544-2549)
  • ทุนวิจัยโครงการ BRT (ปี 2542-2544)
  • ทุนวิจัย สกว. โครงการ LLEN (ปี 2552-2554)
  • ทุนวิจัยมูลนิธิสยามกัมมาจล (ปี 2555-2556)
  • รางวัลศิษย์เก่าบัณฑิตศึกษาดีเด่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2556
  • รางวัลครูดีในดวงใจ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปีการศึกษา 2556
  • รางวัลอาจารย์ดีเด่น สภาคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย ประจำปี 2557
  • รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีการศึกษา 2557
  ประสบการณ์การทำงาน
  • กรรมการประจำคณะศึกษาศาสตร์
  • กรรมการบริหารโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
  • ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
  • กรรมการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา
  • กรรมการปรับปรุงร่างหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  • กรรมการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • คณะกรรมการศูนย์ฝึกประสบการณ์และพัฒนาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในเขตเทศบาล จังหวัดมหาสารคาม
  • ผู้เชี่ยวชาญตามโครงการพัฒนาครูผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  ประสบการณ์อื่นๆ
  • คณะกรรมการบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองวารสารทางวิชาการสำหรับให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์เผยแพร่เพื่อประกอบการสำเร็จการศึกษา
  • บรรณาธิการวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • กองบรรณาธิการวารสารสาระคาม
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประจำวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
  • กองบรรณาธิการเกียรติคุณประจำวารสารเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม 
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประจำวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประจำวารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต
  • ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี
  • ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
  • ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • Editorial Board Review, Science Education Review
  • Editorial Board Review, Electronic Journal of Science Education
  • Editorial Board Review, Higher Education of Social Science
  • Editorial Board Review, International Journal of Educational Administration and Development (IJEAD)
  • Reviewer, International Conference on Society and Information Technologies: ICSIT 2010 
  • Reviewer, International Conference on Society and Information Technologies: ICSIT 2011
  • Reviewer, The 7th International Conference on Natural Computation and the 8th International Conference on Fuzzy Systems and Knowledge Discovery
  • Reviewer, International Education Studies
  • Reviewer, Education Research and Reviews
  • Reviewer, Journal of Education, Informatics and Cybernetics (JEIC)
  • Reviewer, International Journal of Education in Asia-Pacific (IJEAP)
  • Member of International Institute of Informatics and Systemics (IIIS)
  • Member of International Council of Associations for Science Education (ICASE)
  • Scientific and Technical Committee & Editorial Review Board on Humanities and Social Sciences, World Academy of Science, Engineering and Technology
  • Conference committee in the ISET 2013 : International Conference on Science Education Teachers
  • Conference committee in the ICES 2014 : International Conference on Education System
  • เลขาคณะทำงานโครงการประชุมวิชาการนานาชาติ The 1st International Conference on Education Reform 2007 (ICER 2007)
  • เลขาคณะทำงานโครงการประชุมวิชาการนานาชาติ The 2nd International Conference on Education Reform 2009 (ICER 2009)
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสารวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสารวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา 
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสาร JSTEL มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยวารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยวารสารวิชาการ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัยในการประชุมวิชาการ “การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21”
  • ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือการวิจัยนิสิตนักศึกษา ระดับ ปริญญาโท ปริญญาเอก และบุคลากรทางการศึกษา
  • อาจารย์ที่ปรึกษาสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมครูบ้านนอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมพิมพ์หลากสี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • อาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  ผลงานทางวิชาการ/บทความวิจัย
  • Nuangchalerm, P., Sakkumduang, K., Uhwha, S. and Chansirisira, P. (2014). Implementing E-Learning Designed Courses in General Education. Asian Journal of Education and E-Learning. 2(4): 259-263.
  • Nuangchalerm, P. (2014). Inquiry-based Learning in China : Lesson learned for School Science Practices. Asian Social Science. 10(13): 64-71.
  • Nuangchalerm, P. (2014). Empowering Google, Youtube, and Facebook (GUF) in the Teacher Education Classroom. Proceeding of the 8th International Technology, Education and Development Conference (INTED 2014). 5272-5278.
  • Nuangchalerm, P. (2013). Engaging Nature of Science to Preservice Teachers through Inquiry-based Classroom. Journal of Applied Science and Agriculture. 8(3): 200-203.
  • Prasertsung, P. and Nuangchalerm, P. (2013). The Development of Service Learning Instructional Model for Pre-Service Teachers. Higher Education of Social Science. 4(3): 54-58.
  • Prasertsung, P., Nuangchalerm, P. and Pumipuntu, C. (2013). Service Learning and its Influenced to Pre-service Teachers: Social Responsibility and Self-efficacy Study. International Education Studies. 6(7): 144-149.
  • Nuangchalerm, P. and Chansirisira, P. (2012). Community Service and University Roles: An Action Research based on the Philosophy of Sufficiency Economy. US-China Education Review. 2(4): 453-459.
  • Nuangchalerm, P. (2012). Enhancing Pedagogical Content Knowledge in Preservice Science Teachers. Higher Education Studies. 2(2): 66-71.
  • Prachagool, V. and Nuangchalerm, P. (2012). Study on Group-based Problem-solving of Pre-service Teachers in Early Childhood Education Program. Journal of Applied Science Research. 8(3): 1642-1645.
  • Nuangchalerm, P. (2011). In-service Science Teaches’ Pedagogical Content Knowledge. Studies in Sociology of Science. 2(2): 33-37.
  • Nuangchalerm, P., Prachagool, V. and Sriputtha, P. (2011). Online Professional Experiences in Teacher Preparation Program : A Preservice Teachers Study. Canadian Social Science. 7(5): 116-120.
  • Chansirisira, P., Nuangchalerm, P., Khamkong, S. and Morakot, N. P. (2011). MSU-Test: A Tool for Measuring Students’ Achievement. Canadian Social Science. 7(5): 121-123.
  • Polyiem, T., Nuangchalerm, P. and Wongchantra, P. (2011). Learning Achievement, Science Process Skills, and Moral Reasoning of Ninth Grade Students Learned by 7E Learning Cycle and Socioscientific issues-based Learning.Australian Journal of Basic and Applied Science. 5(10): 257-264.
  • Wongchantra, P. and Nuangchalerm, P. (2011). Effects of Environmental Ethics Infusion Instruction on Knowledge and Ethics of Undergraduate Students. Research Journal of Environmental Sciences. 5(1): 73-77.
  • Nuangchalerm, P.  (2010). Engaging Students to perceive Nature of Science through Socioscientific Issues-based Instruction. European Journal of Social Sciences. 13(1): 34-37.
  • Nuangchalerm, P. and Charnsirirattana, D. (2010). A Delphi Study on Brain-based learning in Science. Canadian Social Science. 6(4): 141-146.
  • Nuangchalerm, P. and Kwuanthong, B. (2010). Teaching “Global Warming” through Socioscientific issues-based Instruction.  Asian Social Science. 6(8): 42-47.
  • Nuangchalerm, P. (2010).  Internet User and Electronic Journals Perception: An Inservice Science Teacher Study.Journal of Applied Sciences Research. 6(5): 447-452.
  • Wongsri, P. and Nuangchalerm, P. (2010). Learning Outcomes of Socioscientific issues-based and Conventional Learning Activities. Journal of Social Sciences. 6 (2): 240-243.
  • Panasan, M. and Nuangchalerm, P. (2010). Learning Outcomes of Inquiry-based and Project-based Learning Activities. Journal of Social Sciences. 6 (2): 252-255.
  • Nuangchalerm, P. and Prachagool, V.  2010.  Influences of Teacher Preparation Program on Preservice Science Teachers’ Beliefs. International Education Studies. 3(1): 87-91.
  • Nuangchalerm, P. and Prachagool, V.  (2010).  Promoting Transformative Learning of Preservice Teachers through Contemplative Practices. Asian Social Science. 6(1): 95-99.
  • Pangma, R., Tayraukham, S., and Nuangchalerm, P. (2009). Causal Factors Influencing Adversity Quotient of Twelfth Grade and Third-Year Vocational Students. Journal of Social Sciences. 5(4): 466-470.
  • Pimta, S., Tayruakham, S. and Nuangchalerm, P. (2009). Factors Influencing Mathematic Problem-Solving Ability of Sixth Grade Students. Journal of Social Sciences. 5(4): 381-385.
  • Phongutta, R., Tayraukham, S. and Nuangchalerm, P. (2009). Comparisons of Mathematics Achievement, Attitude towards Mathematics and Analytical Thinking between Using the Geometer's Sketchpad Program as Media and Conventional Learning Activities. Australian Journal of Basic and Applied Science. 3(3): 3036-3039.
  • Nuangchalerm, P. and Thamasena, B. (2009). Cognitive Development, Analytical Thinking, and Learning Satisfaction of Second Grade Students learned through Inquiry-based Learning. Asian Social Science. 5(10): 82-87.
  • Nuangchalerm, P. (2009). Preservice Teachers Perception about Nature of Science. The Social Sciences. 4(5): 463-467.
  • Nuangchalerm, P. (2009). Development of Socioscientific Issues-based Teaching for Preservice Science Teachers.Journal of Social Sciences. 5(3): 239-243.
  • Nuangchalerm, P. (2009). Implementing Professional Experiences to prepare Preservice Science Teachers. The Social Sciences. 4(4): 388-391.
  • Nuangchalerm, P. (2008.) Reinforcement of Science learning through Local Culture : A Delphi Study. Proceeding of the International Conference on Educational Leadership in Cultural Diversity and Globalization (ICFE). April 8-11, 2008. Phuket, Thailand. 414-417.
  • Phongutta, R., Tayraukham, S. and Nuangchalerm, P. (2008). Comparisons of Mathematics Achievement, Attitude towards Mathematics and Analytical Thinking between Using the Geometer's Sketchpad Program as Media and Conventional Learning Activities. Proceeding of the 6th International Conference on Education and Information Systems, Technologies and Applications (EISTA 2008). June 29 - July 2, 2008. Orlando, Florida, USA.
  • Wongchantra, P., Boujai, P., Sata, W. and Nuangchalerm, P. (2008). A Development of Environmental Education Teaching Process by Using Ethics Infusion for Undergraduate Students. Pakistan Journal of Social Sciences. 5(9): 941-944.
  • Nuangchalerm, P. (2007). Development of Indigenous Science Instructional Model. Proceeding of the 1st International Conference on Educational Reform 2007.  November 9-11, 2007. Khon Kaen, Thailand. 329-340. 
  • Nuangchalerm, P., Sangpradub, N. and Hanjavanit, C. (2006). Ecological Studies on a Tube-case Maker Setodes sp.1 (Trichoptera : Leptoceridae). in S. Uchida and T. Kishimoato (Editors). Biology of Inland Waters. Suppl. 1. Scientific Research Society of Inland Water Biology.  Japan. pp. 3-8.
  • Nuangchalerm, P., Sangpradub N. and Hanjavanit C. Microhabitat and Diet of Leptocerus sp. in Phromlaeng and Yakruae Streams at Nam Nao National Park, Thailand. in  Y.J. Bae (Editor). (2001). The 21st Century and Aquatic Entomology in East Asia. Korean Soc. Aquatic Entomol., Korea. pp. 135-140.
  • วันเพ็ญ  อมรสิน  สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). การศึกษาอัตลักษณ์นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามวารสารสาระคาม. 4(1): 81-93.
  • ศุภผล ไชยพันธ์ ประสาท เนืองเฉลิม ประยูร  วงศ์จันทรา. (2555). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบลัดดาและแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 2(1): 58-64.
  • อดุลย์ ไพรสณฑ์ ประสาท เนืองเฉลิม  สุมาลี ชูกำแพง. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ และเจตคติต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนตามแนวคิด Backward Design กับการเรียนแบบปกติวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 5(1): 103-109.
  • เฉลิมพล ตามเมืองปัก  ชวลิต ชูกำแพง  ประสาท เนืองเฉลิม. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL).วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 4(4): 33-41. 
  • คมสันต์ เอ็นคะวัน  สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2553). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์เรื่องลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานีวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 16: 229-234.  
  • นิติยา กระชับกลาง  ชวลิต ชูกำแพง  ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถทางภาษาตามแนวคิดพัฒนาการและการเรียนรู้ที่สอดคล้องสมองของเด็กปฐมวัยวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3(2): 65-72.  
  • สาคร พิมพ์ทา  สมบัติ ท้ายเรือคำ  ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การพัฒนาโมเดลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฉบับที่พิเศษ 2552: 243-254.
  • อุสา รินลา  พิศมัย ศรีอำไพ  ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้แบบสตอรีไลน์และแบบสืบเสาะหาความรู้. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 3(3): 71-79.
  • รุจาภา ประถมวงษ์  สมบัติ ท้ายเรือคำ ประสาท เนืองเฉลิม. (2552). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) กับจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E). วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 1(1): 87-96.
  • รติพร ศรีลาดเลา ประสาท  เนืองเฉลิม อดิศักดิ์ สิงห์สีโว. (2552). การเปรียบเทียบผลการเรียนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นและแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ และเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.  11(3): 43-54.
  • ภฤดา เลียบสูงเนิน  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2552). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 28(2): 95-103.
  • สลักจิต สุขช่วย  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2552). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT กับผังมโนทัศน์ และการเรียนรู้แบบปกติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 28(2): 64-74.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม.  (2552).  ความคิดเห็นและความต้องการของนิสิตครูวิทยาศาสตร์ที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู.วารสารศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(1): 47-60.
  • ทิฆัมพร ยุทธเสรี  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551). ผลการจัดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารนเรศวร พะเยา.1(3): 205-208.
  • ทัศน์มน หนูนิมิตร  ประสาท  เนืองเฉลิม  ชวลิต  ชูกำแพง. (2551). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักประกอบแผนผังความคิดและแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(3): 57-65.
  • สิริลักษณ์  สายเพชร  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551). ผลการจัดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบโครงงาน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารนเรศวร พะเยา. 1(2): 167-170.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551). การรับรู้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของครูวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(2): 35-45.
  • สุมาลี  จุลลาศรี  นิราศ  จันทรจิตร  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551).  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(2): 92-98.
  • สร้อยสุดา มาดี  ประสาท เนืองเฉลิม  ชวลิต ชูกำแพง. (2551). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างการเรียนรู้ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการและตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(4): 56-62.
  • รัชภูมิ  แพงมา  สมบัติ  ท้ายเรือคำ  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551).  ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการเผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(1): 36-47.
  • ปฏิพัฒน์  อุดรไสว  ทรงศักดิ์  ภูสีอ่อน ประสาท  เนืองเฉลิม. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 26(4): 15-26.
  • เกิดศิริ  ทองนวล  ทรงศักดิ์  ภูสีอ่อน ประสาท  เนืองเฉลิม. (2550). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 2. วารสารการวัดผลการศึกษา  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12: 101-116.
  • ประสาท เนืองเฉลิม(2548). การบูรณาการความรู้พื้นบ้านกับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อชุมชน: กรณีศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ป่าปู่ตาวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 3(1): 17-30.
  บทความวิชาการ
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 7(2): 41-53.
  • ปาริชาติ  ประเสริฐสังข์  ประสาท เนืองเฉลิม. (2555). การเรียนการสอนที่เน้นการบริการสังคม. วารสารวิชาการ. 15(1): 36-49.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2554). ข้อค้นพบทางประสาทวิทยากับการเรียนการสอน. วารสารครุศาสตร์สาร. 4(1): 241-249.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด Socioscientific. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2(3): 99-106.
  • เรณุวัฒน์  พงษ์อุทธา  สมบัติ  ท้ายเรือคำ  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2551). การเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เรื่อง พาราโบลา. วารสารวิชาการ. 11(3): 83-86.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design). วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 26(2): 82-88. 
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะ 7 ขั้น. วารสารวิชาการ. 10(4): 25-30.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2550). มิติวิทยาศาสตร์พื้นบ้านสู่การเรียนการสอน. วารสารวิชาการ. 10(2): 24-28.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2548). เรียนวิทยาศาสตร์จากของเล่นพื้นบ้าน. วารสารวิชาการ. 8(4): 17-24.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2547). พหุปัญญา : แนวคิดแห่งปัญญาเพื่อการเรียนรู้. วารสารนวัตกรรมการเรียนการสอน. 1(1): 8-13.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2546). วิทยาศาสตรศึกษากับภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 11(2): 65-68.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2546). การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับปฐมวัยศึกษา. วารสารการศึกษาปฐมวัย. 7(3): 23-29.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2546). ของเล่นระดับปฐมวัยกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารวิชาการ. 6(3): 66-72
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2546). ของเล่นระดับปฐมวัยกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารการศึกษา กทม. 26(11): 13-17.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2546). กระบวนทัศน์ใหม่ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ. หน้า 35-37.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2545). ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ปฐมวัยศึกษา. วารสารการศึกษาปฐมวัย. 6(4): 20-26.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2545). อินเทอร์เนทกับการเรียนรู้แบบก้าวกระโดด. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 10(3): 17-18.
  หนังสือ
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2557). อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2557). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (2556). วิจัยการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ประสาท เนืองเฉลิม. (ผู้แต่งร่วม) ใน นงนิตย์ มรกต และคณะ. (2554). แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กับปรัชญา. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • วีณา  ประชากูล  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2554). รูปแบบการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม)มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2554). หลักสูตรการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม)มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2554). การสืบค้นสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • วีณา  ประชากูล  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2553). รูปแบบการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งแรกมหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2553). หลักสูตรการศึกษา. พิมพ์ครั้งแรกมหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • ประสาท  เนืองเฉลิม. (2553). การสืบค้นสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. พิมพ์ครั้งแรกมหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
  • ชวลิต  ชูกำแพง  ประสาท  เนืองเฉลิม. (2549). การพัฒนาและการบริหารจัดการหลักสูตร. มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.
  วิชาที่รับผิดชอบ
  • ระดับปริญญาเอก : รูปแบบการเรียนการสอน  การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้  คอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยทางศึกษาศาสตร์  สัมมนาด้านนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้
  • ระดับปริญญาโท : การพัฒนาหลักสูตร  การวิจัยหลักสูตรและการสอน  หลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์  คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้  ประเด็นและแนวโน้มด้านหลักสูตรและการสอน
  • ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ : การพัฒนาหลักสูตร  หลักสูตรและการสอน นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • ระดับปริญญาตรี : พลเมืองศึกษา  การศึกษากับชุมชน  สารัตถะความเป็นครู  หลักการและพื้นฐานปรัชญาการศึกษา  สัมมนาประสบการณ์วิชาชีพครู  การพัฒนาและการจัดการหลักสูตร  กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์  การจัดการชั้นเรียน  หลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป 1  หลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป 2  การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2

   


วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สำนักงาน : ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ    
อาคารวิทยพัฒนาชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000    
โทรศัพท์ : 043-743-174, ภายใน. 6212, แฟกซ์ : 043-743-174
e-mail : journaled@msu.ac.th